การป้องกันและการกำจัดศัตรูของนกกระทา การตัดปาก
การตัดปาก
การตัดปากนกทำโดยขลิบปากข้างเดียวหรือทั้งสองข้าง เพื่อป้องกันการจิกกัน เครื่องตัดปากชนิดไฟฟ้า อาจตัดปากนกได้ทุกอายุ แต่ในระยะ 2 สัปดาห์แรก ทำลำบากเพาะปากระยะนี้เล็กมาก
การป้องกันการแพร่ระบาดของโรค
1. นกที่นำเข้ามาจากภายนอก ควรแยกไว้ต่างหาก ประมาณ 2 สัปดาห์
2. ควรหมั่นสังเกตและตรวจอาการของนกทุกวัน
3. ควรทำความสะอาดอุปกรณ์ต่าง ๆ ล้างด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อโรค
4. คนทำงาน ให้อยู่เฉพาะบริเวณไม่ปะปนกัน
5. ไม่ควรให้ผู้เข้าชม เข้าในเขตกักกันโรค
6. ป้องกันอย่าให้นก หนู ศัตรูต่าง ๆ เข้ามาในโรงเรือนเลี้ยงนกกระทา
7. ถ้าเกิดโรคมาก ๆ ควรต้องทิ้งนกทั้งฝูง และทำความสะอาดบริเวณนั้น โดยใช้น้ำยาฆ่าเชื้อโรค
วิธีแก้ปัญหาการจิกกันในฝูงนกกระทกและวิธีการป้องกันแก้ไข
ปัญหาการจิกกันหรือการจิกขนมีในฝูงนกที่เลี้ยงบนลวดตาข่าย จะสังเกตได้จากหัวและหลัง มีขนหลุดมากผิดปกติ
วิธีป้องกันและแก้ไข จึงสามารถทำได้ดังนี้
1. ขลิบปาก จี้ปาก หรือตัดปาก
2. ลดความเข้มของแสงสว่างลงเหลือ 0.5 ฟุต - แรงเทียน
3. ลดปริมาณนกกระทาต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ วัดการระบายอากาศให้เหมาะสม
4. เพิ่มการและกรวดในอาหาร
5. เพิ่มเมทไธโอนินในอาหาร 0.05 % ลงในอาหาร
6. แยกนกป่วยที่ถูกจิกออกเลี้ยงต่างหาก
7. ใช้อาหารมีเปอร์เซ็นต์โปรตีนเปอร์เซ็นต์สูง และมีโปรตีนจากสัตว์ไม่น้อยกว่าครึ่งของอาหารโปรตีนทั้งหมด
การป้องกันและการกำจัดศัตรูของนกกระทาศัตรู
พวกนี้อาจเป็นสื่อโรคต่าง ๆ และเพิ่มความสกปรกให้แก่บริเวณที่มันเข้าถึง เช่น แมลงสาบ, แมลง, นก, หนูต่าง ๆ เป็นต้น อาจจะไปทำอันตรายหรือทำลายความปกติสุขต่อนกกระทา
การป้องกันโดยเริ่มตั้งแต่ก่อนย้ายนกกระทาเข้าอาคารหรือเรือนโรง โดยสำรวจและอุดรอยโหว่ต่าง ๆ ขจัดแหล่งเพาะพันธุ์ ใช้ยาฉีดปราบ (Pesticide) ใช้กับดัก รวมทั้งกวดขันในการรักษาความสะอาดขจัดสิ่งรกรุงรังต่าง ๆ
เคล็ดลับ การป้องกันหนูที่ได้ผลดีและประหยัดแรงงานสามารถทำได้โดยการนำแมวมาผูกล่ามไว้บนกรงนกกระทา ให้คอยส่งเสียงขู่ฟอด ๆ ให้หนูได้ตกใจกลัง วิ่งหนีไปไม่คิดจะมาจับนกกินเป็นอาหาร แต่เชือกที่ใช้ล่ามควรมีความยาวแค่ให้แมวอยู่ได้บนกรงนกเท่านั้น เพราะถ้าเชือกยาวแมวก็จะลงไปจับนกกินซะเองหมด
การตัดปากนกทำโดยขลิบปากข้างเดียวหรือทั้งสองข้าง เพื่อป้องกันการจิกกัน เครื่องตัดปากชนิดไฟฟ้า อาจตัดปากนกได้ทุกอายุ แต่ในระยะ 2 สัปดาห์แรก ทำลำบากเพาะปากระยะนี้เล็กมาก
การป้องกันการแพร่ระบาดของโรค
1. นกที่นำเข้ามาจากภายนอก ควรแยกไว้ต่างหาก ประมาณ 2 สัปดาห์
2. ควรหมั่นสังเกตและตรวจอาการของนกทุกวัน
3. ควรทำความสะอาดอุปกรณ์ต่าง ๆ ล้างด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อโรค
4. คนทำงาน ให้อยู่เฉพาะบริเวณไม่ปะปนกัน
5. ไม่ควรให้ผู้เข้าชม เข้าในเขตกักกันโรค
6. ป้องกันอย่าให้นก หนู ศัตรูต่าง ๆ เข้ามาในโรงเรือนเลี้ยงนกกระทา
7. ถ้าเกิดโรคมาก ๆ ควรต้องทิ้งนกทั้งฝูง และทำความสะอาดบริเวณนั้น โดยใช้น้ำยาฆ่าเชื้อโรค
วิธีแก้ปัญหาการจิกกันในฝูงนกกระทกและวิธีการป้องกันแก้ไข
ปัญหาการจิกกันหรือการจิกขนมีในฝูงนกที่เลี้ยงบนลวดตาข่าย จะสังเกตได้จากหัวและหลัง มีขนหลุดมากผิดปกติ
วิธีป้องกันและแก้ไข จึงสามารถทำได้ดังนี้
1. ขลิบปาก จี้ปาก หรือตัดปาก
2. ลดความเข้มของแสงสว่างลงเหลือ 0.5 ฟุต - แรงเทียน
3. ลดปริมาณนกกระทาต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ วัดการระบายอากาศให้เหมาะสม
4. เพิ่มการและกรวดในอาหาร
5. เพิ่มเมทไธโอนินในอาหาร 0.05 % ลงในอาหาร
6. แยกนกป่วยที่ถูกจิกออกเลี้ยงต่างหาก
7. ใช้อาหารมีเปอร์เซ็นต์โปรตีนเปอร์เซ็นต์สูง และมีโปรตีนจากสัตว์ไม่น้อยกว่าครึ่งของอาหารโปรตีนทั้งหมด
การป้องกันและการกำจัดศัตรูของนกกระทาศัตรู
พวกนี้อาจเป็นสื่อโรคต่าง ๆ และเพิ่มความสกปรกให้แก่บริเวณที่มันเข้าถึง เช่น แมลงสาบ, แมลง, นก, หนูต่าง ๆ เป็นต้น อาจจะไปทำอันตรายหรือทำลายความปกติสุขต่อนกกระทา
การป้องกันโดยเริ่มตั้งแต่ก่อนย้ายนกกระทาเข้าอาคารหรือเรือนโรง โดยสำรวจและอุดรอยโหว่ต่าง ๆ ขจัดแหล่งเพาะพันธุ์ ใช้ยาฉีดปราบ (Pesticide) ใช้กับดัก รวมทั้งกวดขันในการรักษาความสะอาดขจัดสิ่งรกรุงรังต่าง ๆ
เคล็ดลับ การป้องกันหนูที่ได้ผลดีและประหยัดแรงงานสามารถทำได้โดยการนำแมวมาผูกล่ามไว้บนกรงนกกระทา ให้คอยส่งเสียงขู่ฟอด ๆ ให้หนูได้ตกใจกลัง วิ่งหนีไปไม่คิดจะมาจับนกกินเป็นอาหาร แต่เชือกที่ใช้ล่ามควรมีความยาวแค่ให้แมวอยู่ได้บนกรงนกเท่านั้น เพราะถ้าเชือกยาวแมวก็จะลงไปจับนกกินซะเองหมด
เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง